ABSCISIC ACID
กรดแอบไซซิก
เป็นฮอร์โมนพืชที่พบมากในใบหรือรากที่เจริญเติบโตเต็มที่ เมล็ดพืชบางชนิด รวมถึงพบมากในพืชที่อยู่สภาวะเครียดเนื่องจากขาดน้ำ
และ ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช ทำให้พืชทนต่อสภาวะเครียดต่างๆได้ดี มีบทบาทในการพัฒนาการเจริญของเอ็มบริโอ
ฮอร์โมนพืช
build source
กรดแอบไซซิกสามารถสร้างได้จากเซลล์ต่างๆ ที่มีคลอโรพลาสต์ หรือ อะไมโลพลาสต์ โดยเฉพาะพืชที่ขาดน้ำ
โดยปริมาณของกรดแอบไซซิกจะเปลี่ยนแปลงไปตามระยะการพัฒนาของพืชและผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม
rice
cotton
birch
history
การค้นพบ
นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการร่วงของฝ้าย โดยสกัดและแยกสารกระตุ้นการหลุดร่วงของใบและผลฝ้าย และให้ชื่อว่า แอบไซซิน II (abscisin II)
ต่อมาผู้ค้นพบสารจากตาของต้นเบิร์ช ที่ทำให้ตาพักและตัวชื่อสารว่า ดอร์มิน (dormin)
ค้นพบว่า แอบไซซิน II และ สารดอร์มินมีโครงสร้างทางเคมีเหมือนกัน จึงเรียกใหม่ว่า กรดแอบไซซิก (abscisic acid)
Effects of aba
on plant physiology
การควบคุมเมล็ด ตาให้เกิดการพักตัว
กรดแอบไซซิกจะยับยั้งการงอกของเมล็ด
เและช่วยให้เมล็ดผ่านพ้นสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เมล็ดจึงมีโอกาสกระจายพันธุ์ได้มากขึ้น
การควบคุมการสังเคราะห์โปรตีน
มีผลทำให้การสังเคราะห์โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตน้อยลง
ตอบสนองต่อสภาวะความเครียดจากสิ่งแวดล้อม
เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น ดินเค็ม ทำให้พืชขาดน้ำ พืชจึงสังเคราะห์กรดแอบไซซิกเพื่อปิดปากใบเพื่อลดการคายน้ำ ทำให้ทนต่อสภาวะขาดน้ำ
ส่งเสริมให้เกิดการเสื่อมตามอายุ
ชักนำการหลุดร่วงและการเสื่อมชรา ผลต่อการหลุดร่วงของกรดแอบไซซิกเป็นผลโดยอ้อม คือไปกระตุ้นให้เซลล์พืชที่แก่สร้างเอทิลีนมากขึ้น
ยบยั้งการเจริญและการยืดตัวของเซลล์
โดยออกฤทธิ์ในทางตรงกันข้ามกับออกซิน
Abscisic acid synthesis
สารสังเคราะห์ที่มีสมบัติคล้ายกรดแอบไซซิกนั้น สามารถนำไปใช้เพื่อช่วยลดการเหี่ยวเฉาของพืชและไม้ดอก
adjunct
การลำเลียงไปต่อท่อลำเลียง
พบในพืชที่มีระบบท่อลำเลียงทั่วไป เช่น มอส สาหร่าย
การเปิดปิดปากใบ
เมื่อพืชขาดน้ำ จะปิดปากใบเพื่อไม่ให้สูญเสียน้ำ
Organizer
น.ส.ณัฎฐณิชา ภัทธิราสินสิริ
ม.5/6 เลขที่3 sec.2